
EP765: ทดลองไมค์ Austrian Audio CC8 และ OC16
สาเหตุที่ “โต ติงต๊อง” เอาไมโครโฟนจาก Austrian Audio สองรุ่นคือ CC8
หน้าแรก » รีวิวไมโครโฟน (สาย)
สาเหตุที่ “โต ติงต๊อง” เอาไมโครโฟนจาก Austrian Audio สองรุ่นคือ CC8
Austrian Audio เป็นผู้ผลิตไมโครโฟนจากประเทศ Austria ที่เต็มไปด้วยวิศวกรดั้งเดิมของ AKG ซึ่งพากันลาออกจากบริษัทเดิมเพื่อสร้างไมโครโฟนในแบบที่ตัวเองอยากทำ แน่นอนว่าไมโครโฟนคอนเดนเซอร์ของแบรนด์นี้ทำออกมาได้ใกล้เคียง
ถ้าคุณเป็นนักร้องลูกเล่นแพรวพราว, ความสามารถและชั่วโมงบินสูงที่กำลังมองหาไมโครโฟนเกรดพรีเมี่ยมที่เหมาะกับตัวเองมาใช้ยาว ๆ และคาดหวังคุณภาพเสียงที่ละเอียดละอออย่างที่สุดและใช้ได้นานเป็นสิบปี เมื่องบประมาณไม่ใช่ปัญหาจะเป็นอย่างอื่นไม่ได้นอกจากสองรุ่นนี้ Neumann KMS 105
มีหลายคนบอกให้ “โต ติงต๊อง” รีบรีวิว SHURE BETA 87A เพื่อให้มีตอนเปรียบเทียบกับ
ในที่สุด “โต ติงต๊อง” ก็ได้รีวิว SHURE BETA 87A ซึ่งเป็นไมค์ร้องและพูดในงานแสดงสดที่ให้รายละเอียดสูงจนถูกนำไปใช้อัดเสียงในสตูดิโอมืออาชีพ
เมื่อพิจารณาถึงไมโครโฟนร้องและพูดสำหรับงานแสดงสด หนึ่งในคำถามเปรียบเทียบรุ่นที่ “โต ติงต๊อง” ถูกถามและเรียกร้องให้ทำเป็น VLOG มากที่สุดคือ SENNHEISER
หลายคนที่ดู VLOG ตอนนี้คงคิดแหละว่า “โต ติงต๊อง” แม่งอคติ SHURE โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
SHURE SM58 เป็นไมโครโฟนร้องและพูดในงานแสดงสดที่มีคน “เล่น” มากที่สุดเพราะเริ่มผลิตตั้งแต่ 50 ปีที่แล้วและหลายคนมีความทรงจำที่ดีกับไมโครโฟนรุ่นนี้ ประกอบกับมันผลิตมานานหลายร้อยหลายพันล็อตหลายแหล่งผลิตจนผู้ผลิตต้องเปลี่ยนแปลงส่วนประกอบและขั้นตอนต่าง
SHURE SM7B เป็นไมโครโฟนที่สตูดิโอต่าง ๆ มีเก็บไว้ใช้งาน โดยเฉพาะงานที่จับต้องได้อย่าง Online Talk
Neumann KMS 105 เป็นไมโครโฟนร้องและพูดสำหรับงานแสดงสดที่ “โต ติงต๊อง” บ่ายเบี่ยงไม่อยากทำรีวิวมากที่สุด และถูกรบเร้าให้ทำมากที่สุดและยาวนานที่สุดเช่นกัน
ไมโครโฟน Gooseneck สำหรับโพเดียมเป็นไมค์ที่เหมือนจะใช้งานง่ายแต่ก็เป็นที่เสียวสันหลังวาบสำหรับคนคุมเสียงหลายคน เพราะผู้ใช้มักเสียงเบาและพูดห่างไมค์เป็นคืบทำให้ต้องเร่งเสียงจนหอน Sound Engineer หลายคนแก้ปัญหาโดยเอาไมค์แหย่ชิดปากผู้พูดมากขึ้นแต่วิธีนี้แลกมาด้วยเสียงลมพรึ่บ (Plosives)
มีอยู่ช่วงหนึ่งที่ Shure SM57 กับ Audix i5 ขาดตลาด (ช่วงก่อนโควิดหลายปีอยู่)